หลักสูตรเขียนโปรแกรม Micro Controller PIC ด้วย CCS C Compiler

เนื้อหาหลักสูตร

  1. วิธีการเปิดไฟล์และCompile
  2. วิธีการใช้ Program Pickit2 และแผงเบิร์น
  3. การใช้คำสั่ง BYTE
  4. การใช้คำสั่งหน่วงเวลา (delay)
  5. การใช้คำสั่ง build in #use fast_io,#fuse,if
  6. การใช้ if-else ,shift ,array
  7. การใช้คำสั่งวนลูป for , while
  8. เขียนโปรแกรม SCAN ตัวเลข 2 หลัก
  9. เรียนรู้การเขียนโปรแกรม Timer0
  10. เรียนรู้การเขียนโปรแกรม Timer1
  11. เรียนรู้การเขียนโปรแกรม Timer2
  12. เรียนรู้การเขียนโปรแกรม Timer0 แบบ interrupt
  13. เรียนรู้การเขียนโปรแกรม Timer1 แบบ interrupt
  14. เรียนรู้การเขียนโปรแกรม ADC (Analog to Digital)
  15. เรียนรู้การสร้างสัญญาณ PWM
  16. การใช้งาน EEPROM ภายใน
  17. เรียนรู้การใช้งาน RS232
    1. การส่งค่าออก RS232
    2. การรับค่าจาก RS232
  18. การเขียนโปรแกรมกดสวิทซ์อินพุทชั้นสูง
  19. โปรเจคโวลท์มิเตอร์ โชว์ที่ 7เซกเมนท์
  20. โปรเจคโปรแกรมเครื่องตั้งเวลาหยอดเหรียญ
  21. โปรเจคไฟจราจร
ราคาพิเศษวันนี้ถึง 30 กันยายน นักศึกษาเพียง 390 บาท และบุคคลทั่วไป ราคา 690 บาท
COURSE CCS C เบี้องต้น นี้จะมีเนื้อหาที่จะเรียน อยู่ทางขวามือ จะแบ่งเป็นเนื้อหาพื้นฐาน ทำความเข้าใจ กับ โมดูลภายในตัว Micro Controller เช่น โมดูล ADC TIMER RS232 เป็นต้น และการประยุกต์ใช้งาน เหมาะสำหรับ ผู้ที่สนใจจะใช้ Micro Controller PIC เพื่อใช้งาน โดยจะปูพื้นฐานของ Micro Controller แบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อน จากนั้น ก็จะเข้าสู่การเขียนโปรแกรม ก็เริ่มจากคำสั่งง่ายๆ มีตัวอย่าง พร้อมโจทย์ ให้ทดลองทำ คำสั่งง่ายๆ ที่มักจะใช้ในภาษาซี ทั่วๆไป เช่นคำสั่งเงื่อนไข if คำสั่งวนรอบการทำงาน for หรือ while เมื่อพอเข้าใจคำสั่งเหล่านี้แล้ว ก็จะเริ่มเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งานเช่น เรียนรู้การเขียนโปรแกรม รับอินพุทแบบง่ายๆ หลังจากนั้น ก็จะเป็นการเขียนโปรแกรมรับอินพุทชั้นสูง เช่น เขียนโปรแกรมอินพุท กดติด กดดับ โดยใช้สวิทซ์อินพุท 1 อินพุท เขียนโปรแกรมโชว์ตัวเลข 2 หลักบน 7 เซกเมนท์ ถ้าเข้าใจหลักงานนี้แล้ว ก็สามารถนำ ไปเขียนโปรแกรมโชว์ตัวเลข 3หลัก 4 หลักได้ เมื่อเขียนโปรแกรม โชว์ตัวเลข 2 หลักได้ ก็ลองเขียนโปรแกรม ดิจิตอล โวลท์มิเตอร์ ดูซึ่งต้องอาศัยความเข้าใจเรื่อง ADC แล้วมาต่อการนำไปประยุกต์ใช้งาน เขียนโปรแกรมเครื่องตั้งเวลาหยอดเหรียญ แบบง่ายๆก่อน ถ้าอยากจะต่อยอด ทำเป็นสินค้าก็ได้ โปรเจคนี้ต้องอาศัยเรื่อง Timer ตัวตั้งเวลา ที่อยู่ภายในตัว Micro Controller และโปรแกรมรับอินพุทชั้นสูง บวกกับโชว์ตัวเลข 7 Segment 2 หลัก จากนั้นลองดูจำลองโปรแกรมไฟจราจรดูว่า เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมให้แต่ละไฟคือ ไฟเขียว ไฟแดง และ ไฟเหลือง มีเวลาในการนับถอยหลังไม่เท่ากัน ได้อย่างไร ถ้าสามารถเข้าใจหลักสูตร นี้ ได้แล้ว ก็สามารถที่จะศึกษาหลักสูตรชั้นสูงต่อไปได้เช่น หลักสูตร การใช้งาน PIC ในงานด้าน IoT หรือ การใช้งาน PIC กับ โมดูลไวไฟ ESP8266 เป็นต้น้นป็นต้น